เห็ดหลินจือ
ลักษณะธรรมชาติของเห็ดหลินจือ
เห็ดหลินจือจัดเป็นเห็ดที่เจริญเติบโตดีในธรรมชาติ โดยเจริญเติบโตตามโคนต้นไม้ในเขต อบอุ่นและเขตร้อน จะเจริญได้ดีบนตอไม้ที่ตายแล้ว เช่น ต้นคูน ก้ามปู หางนกยูง ยางพาราเป็นต้น
ส่วนประกอบของเห็ดหลินจือ
หมวกดอก อาจเกิดเป็นดอกเดี่ยวหรือเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3-4 ดอกที่มีโคนดอกติดกัน ดอกเห็ดเมื่อยังอ่อนอยู่ จะมีสีขาวหรือสีเหลือง กลางหมวกดอกจะมีสีน้ำตาล แต่ถ้าเจริญเติบโตเต็มที่แล้วขอบหมวกจะงองุ้มลง สีของหมวกดอกจะเข้มมากขึ้น เนื้อเยื่อภายในดอกเห็ดจะมีเส้นใยสีน้ำตาล ผิวของหมวกดอกมีลักษณะเป็น เงาคล้ายทาด้วยแชลแลคมีสีน้ำตาลแดง
เห็ดหลินจือจัดเป็นเห็ดที่เจริญเติบโตดีในธรรมชาติ โดยเจริญเติบโตตามโคนต้นไม้ในเขต อบอุ่นและเขตร้อน จะเจริญได้ดีบนตอไม้ที่ตายแล้ว เช่น ต้นคูน ก้ามปู หางนกยูง ยางพาราเป็นต้น
ส่วนประกอบของเห็ดหลินจือ
หมวกดอก อาจเกิดเป็นดอกเดี่ยวหรือเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3-4 ดอกที่มีโคนดอกติดกัน ดอกเห็ดเมื่อยังอ่อนอยู่ จะมีสีขาวหรือสีเหลือง กลางหมวกดอกจะมีสีน้ำตาล แต่ถ้าเจริญเติบโตเต็มที่แล้วขอบหมวกจะงองุ้มลง สีของหมวกดอกจะเข้มมากขึ้น เนื้อเยื่อภายในดอกเห็ดจะมีเส้นใยสีน้ำตาล ผิวของหมวกดอกมีลักษณะเป็น เงาคล้ายทาด้วยแชลแลคมีสีน้ำตาลแดง
ครีบดอก ใต้หมวกดอกมีลักษณะเป็นรูเล็กสีขาวหรือสีเหลืองจำนวนมาก ภายในรูเป็นแหล่งกำเนิดของสปอร์ เมื่อเจริญเต็มที่จะมีการสร้างสปอร์และปล่อยออกมามากมาย บางส่วนจะปลิวตกลงพื้นแต่บางส่วนจะ ลอยขึ้นไปปกคลุมผิวของหมวกดอก สปอร์มีลักษณะเป็นผงสีน้ำตาล เมื่อนำมาชิมดูจะพบว่ามีรสขม
ก้านดอก เห็ดหลินจืออาจจะมีก้านดอกหรือไม่ก็ได้ โดยเฉพาะเห็ดหลินจือที่ขึ้นตามตอไม้อาจไม่พบก้านดอก ก้านดอกอาจจะอยู่กึ่งกลางหรือค่อนไปข้างใดข้างหนึ่งของหมวกดอกก็ได้
การเพาะเห็ดหลินจือในถุงพลาสติก
สูตรอาหารสำหรับเพาะเห็ดหลินจือที่ใช้กันในประเทศไทยมีหลายสูตร เช่น
สูตรที่ 1
ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 100 กิโลกรัม
รำละเอียด 5 กิโลกรัม
ปูนขาว 1 กิโลกรัม
ดีเกลือ 0.2 กิโลกรัม
น้ำ พอประมาณ
สูตรที่ 2
ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 100 กิโลกรัม
สูตรอาหารสำหรับเพาะเห็ดหลินจือที่ใช้กันในประเทศไทยมีหลายสูตร เช่น
สูตรที่ 1
ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 100 กิโลกรัม
รำละเอียด 5 กิโลกรัม
ปูนขาว 1 กิโลกรัม
ดีเกลือ 0.2 กิโลกรัม
น้ำ พอประมาณ
สูตรที่ 2
ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 100 กิโลกรัม
รำละเอียด 3 กิโลกรัม
น้ำตาลทราย 2 กิโลกรัม
น้ำ พอประมาณ
สูตรที่ 3
ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 75 กิโลกรัม
รำละเอียด 24 กิโลกรัม
ปูนขาว 1 กิโลกรัม
น้ำ พอประมาณ
สูตรที่ 4
ขี้เลื่อยไม้เบญจพรรณ 100 กิโลกรัม
ปูนขาว 1 กิโลกรัม
แอมโมเนียซัลเฟต(21-0-0) 2 กิโลกรัม
นำส่วนผสมข้างต้นคลุกกันแล้วปรับความชื้นให้สม่ำเสมอ หมักทิ้งไว้ 2
เดือนโดยกลับกองทุก ๆ 15 วัน เมื่อได้ที่แล้วนำมาผสมตามอัตราส่วนดังนี้
ขี้เลื่อยที่หมักดีแล้ว 100 กิโลกรัม
รำละเอียด 3 กิโลกรัม
น้ำตาลทราย 2 กิโลกรัม
น้ำตาลทราย 2 กิโลกรัม
น้ำ พอประมาณ
สูตรที่ 3
ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 75 กิโลกรัม
รำละเอียด 24 กิโลกรัม
ปูนขาว 1 กิโลกรัม
น้ำ พอประมาณ
สูตรที่ 4
ขี้เลื่อยไม้เบญจพรรณ 100 กิโลกรัม
ปูนขาว 1 กิโลกรัม
แอมโมเนียซัลเฟต(21-0-0) 2 กิโลกรัม
นำส่วนผสมข้างต้นคลุกกันแล้วปรับความชื้นให้สม่ำเสมอ หมักทิ้งไว้ 2
เดือนโดยกลับกองทุก ๆ 15 วัน เมื่อได้ที่แล้วนำมาผสมตามอัตราส่วนดังนี้
ขี้เลื่อยที่หมักดีแล้ว 100 กิโลกรัม
รำละเอียด 3 กิโลกรัม
น้ำตาลทราย 2 กิโลกรัม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น